คุณรู้หรือไม่? การเลือกซื้อชุดตรวจโควิดอยรับรองแต่ละชนิดนั้นมีทั้ง ชุดตรวจโควิดอยรับรอง นอกจากจะพิจารณาเรื่องของการใช้งานไม่ว่าจะเป็น งบประมาณ คุณภาพ ความทนทาน ชื่อเสียงของแต่ละรุ่นแล้ว ยังควรพิจารณาในเรื่องของพื้นที่ในการจัดวางและพื้นที่ใช้สอยในชุดตรวจโควิดอยรับรองอีกด้วย โดยวันนี้เราได้จัดอันดับ ชุดตรวจโควิดอยรับรองแบบที่มีคุณภาพดีมีประสิทธิภาพมาให้คุณได้เลือกกันแล้ว ดังนี้
2. ชุดตรวจโควิค 2in1 ได้ทั้งจมูกหรือบ้วนน้ําลาย 1:1 1กล่อง/10เทส
Hip Biotech 19 ตรวจได้ทั้งแบบแยงจมูกและน้ําลาย ที่ตรวจไข้หวัดใหญ่ 3 ใน 1 ชุดตรวจโควิดด้วยน้ําลาย ชุดตรวจโควิดทางน้ําลาย ที่ตรวจโควิด 3 in 1
3. ชุดทดสอบตรวจหาเชื้ออี.โคไลและโคลิฟอร์มในภาชนะสัมผัสอาหารและมือ/Swab E. coil and Coliform (Compact Dry EC)
ชุดทดสอบตรวจหาเชื้ออี.โคไลและโคลิฟอร์มในภาชนะสัมผัสอาหารและมือ/Swab E coil and Coliform (Compact Dry EC) ใช้ตรวจภาชนะสัมผัสอาหารและมือผู้สัมผัสอาหาร Swab Test หาเชื้อ อี โคไล และ โคลิฟอร์ม Compact Dry EC เพลทอาหารชนิดสําเร็จรูปแบบแห้ง เพื่อนับจํานวนจุลินทรีย์ทั้งหมด เชื้อ E coli และ Coliform
ยี่ห้อ : Nissui
ตัวอย่างเป้าหมาย : มือผู้สัมผัสอาหาร ภาชนะสัมผัสอาหาร แก้วน้ํา ช้อนส้อม จาน ชาม ถ้วยขนม เขียง ตะเกียบ
จํานวนตัวอย่าง : 12 ตัวอย่าง/กล่อง Compact Dry EC เป็นจานอาหารเลี้ยงเชื้อสําเร็จรูป สําหรับตรวจ E.coli และ Coliform ประกอบด้วยอาหารเลี้ยงเชื้อแบบ Selective มีการเติม Chromogenic enzyme substrate 2 ชนิดคือ X-Glue ทําปฏิกิริยากับ เอนไซม์ -glucuronidase ทําให้โคโลนี E.coli มีสีน้ําเงิน และ Magenta-GAL ทําปฏิกิริยากับ -galactosidase ให้โคโลนี Coliform เป็นสีม่วงสามารถรายงานผลการทดสอบได้รวดเร็วภายใน 24 ชั่วโมง ข้อดีของ Compact Dry - ใช้ง่าย อ่านผลชัดเจน - ไม่ต้องยุ่งยากกับในการเตรียมและควบคุมคุณภาพมีเดียร์แบบวุ้น - แบ่งเก็บไว้ใช้ได้นานถึง 18-24 เดือน ในอุณหภูมิห้อง 30 C - ตัวอย่างสารทดสอบแพร่ไปบนเพลทได้อย่างสม่ําเสมอ - มีแผ่นcover ปิดป้องกันอันตราย - ขนาดพอเหมาะ ซ้อนกันได้ นําออกไปใช้ที่จุดทดสอบได้ - โคโลนีเต็บโตได้ทั้ง 3 มิติ และเก็บตัวอย่างโคโลนีได้ง่าย - อ่านผลง่าย เห็นสีได้ชัดเจน - การทดสอบผ่านการรับรองของ AOAC approval, MicroVal certification, NordVal certification ดาวน์โหลดคู่มือ คู่มือชุดทดสอบตรวจหาเชื้ออี.โคไลและโคลิฟอร์มในภาชนะสัมผัสอาหารและมือ.pdf
4. ชุดตรวจซิฟิลิส 1 ชุดทดสอบ
ชุดตรวจซิฟิลิส 1 ชุดทดสอบ ประกอบด้วย 1.แผ่นทดสอบ 2.น้ํายาทดสอบ 3.เข็มเจาะปลายนิ้ว 4.ปลาสเตอร์ปิดแผล Abbott
5. ชุดทดสอบบอแรกซ์ในอาหาร | ทดสอบได้ 50 ครั้ง
ชุดทดสอบบอแรกซ์ในอาหาร ชุดทดสอบบอแรกซ์ในอาหาร จากองค์การเภสัชกรรม ผลิตเพื่อให้สามารถนําไปตรวจสอบสารบอแรกซ์นอกห้องปฏิบัติการด้วยตัวเอง เนื่อจากบอแรกซ์เป็นอันตรายต่อสุขภาพและถูกกําหนดให้ห้ามใช้ในอาหาร องค์การเภสัชกรรมจึงผลิตชุดทดสอบบอแรกซ์ในอาหารขึ้น ให้คุณสารถตรวจหาบอแรกซ์ที่เจือปนในอาหารได้รวดเร็ว ตรวจง่าย และมีความแม่นยําสูง รายละเอียด สินค้า
จํานวนตัวอย่างที่ตรวจได้/ชุด : 50 ตัวอย่าง
สารที่ตรวจสอบ : สารบอแรกซ์ (ผงกรอบ)
ระดับต่ําสุดที่ตรวจได้ : 100 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (ppm)
อายุผลิตภัณฑ์ : 2 ปี นับจากวันผลิต (ดูวันหมดอายุที่กล่องบรรจุ)
อุปกรณ์ในชุดทดสอบบอแรกซ์ในอาหาร : 1 ถ้วยพลาสติก 1 ใบ 2 หลอดหยด 1 อัน 3 ช้อนพลาสติก 1 คัน 4 กระดาษขมิ้นชัน (50 แผ่น) 1 ขวด 5 น้ํายาทดสอบบอแรกซ์ 1 ขวด
ตัวอย่างอาหาร : 1 เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ หมูบด ปลาบด ทอดมัน ลูกชิ้น เนื้อสด ไส้กรอก หมูยอ 2 ผลไม้ดอง ผลไม้อบแห้ง ผลไม้แช่อิ่ม 3 ขนมหวานที่ทําจากแป้ง ทับทิมกรอบ ลอดช่อง วุ้น รวมมิตร ซ่าหริ่ม 4 บะหมี่ แผ่นเกี๊ยว
ลักษณะที่สังเกตได้ : อาหารกรอบมาก
ผลกระทบต่อสุขภาพ : 1 เป็นพิษต่อไต 2 ทําให้ทางเดินอาหารเกิดการระคายเคือง 3 อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ําหนักลด ผิวหนังแห้ง หนังตาบวม 4 หากผู้ใหญ่ได้รับสารบอแรกซ์ตั้งแต่ 15 กรัม หรือเด็กได้รับตั้งเเต่ 5 กรัมขึ้นไป จะทําให้เกิดอาเจียนเป็นเลือด และอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ ขั้นตอนการใช้ชุดทดสอบบอแรกซ์ในอาหาร 1 สับอาหารออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ เท่าหัวไม้ขีดไฟ 2 ตักอาหาร 1 ช้อน ใส่ในถ้วย 3 เติมน้ํายาทดสอบบอเเรกซ์ลงบนอาหารจนชุ่ม แล้วกวนให้เข้ากัน 4 จุ่มกระดาษขมิ้นชันให้เปียกครึ่งแผ่น 5 นํากระดาษขมิ้นชันที่จุ่มในอาหารจนเปียกแล้ว วางบนจานกระเบื้อง หรือแผ่นกระจกแล้วนําไปวางไว้กลางแดดนาน 10 นาที 6 ถ้ากระดาษขมิ้นชัน มีสีส้มจนถึงแเดง แสดงว่า อาหารมีสารบอแรกซ์ปนอยู่ ข้อควรระวังในการใช้ชุดทดสอบบอแรกซ์ในอาหาร 1 น้ํายาทดสอบบอแรกซ์มีสภาพเป็นกรด หากหกเปื้อนมือ หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย ให้ล้างด้วยน้ําและฟอกสบู่ให้สะอาด 2 เก็บชุดทดสอบให้พ้นมือเด็ก 3 หลังจากใช้ชุดทดสอบให้ทําความสะอาดมือด้วยสบู่ หรือน้ํายาทําความสะอาด การเก็บรักษาชุดทดสอบบอแรกซ์ในอาหาร สามารถเก็บชุดทดสอบบอแรกซ์ในอาหารที่อุณหภูมิห้องได้ (กระดาษขมิ้นชันที่ใช้แล้วต้องปิดฝาขวดให้สนิท ไม่ให้ถูกแสง) หมายเหตุ 1 ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 151 (พ.ศ.2536) กําหนดให้บอแรกซ์เป็นสารที่ห้ามใช้ในอาหาร ผู้ฝ่าฝืนมีโทษให้ปรับไม่เกิน 20,000 บาท พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ 2544 กําหนดบอแรกซ์เป็นสินค้าควบคุมฉลากต้องมีข้อห้าม บอแรกซ์อันตราย อาจทําให้ไตวาย ห้ามใช้ในอาหาร ถ้าไม่มีฉลากหรือมีฉลากแต่การแสดงฉลากไม่ถูกต้อง ระวางโทษ จําคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือมีโทษปรับไม่เกิน 50,000 บาท ถ้าเป็นการกระทําของผู้ผลิต หรือผู้สั่ง หรือผู้นําเข้าต้องระวางโทษจําคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 1 แสนบาท 2 ที่มาของของข้อมูล เอกสารชุดทดสอบอาหารขององค์การเภสัชกรรม ใช้ง่าย มีความแม่นยําสูง GPO(จีพีโอ)
6. Hip 4in1 ชุดตรวจไข้หวัดใหญ่Flu A/Flu B/RSV/Covid-19 ผลตรวจแม่นยํา ชุดตรวจโควิด ของแท้ 100%
HIP ชุดตรวจไข้หวัดใหญ่ covid ชุดตรวจโควิดด้วยน้ําลาย ชุดตรวจโควิดทางน้ําลาย atk แบบน้ําลาย 10 ชุด ที่ตรวจโควิด 3 in 1
7. ชุดตรวจคัดกรองมะเร็งลําไส้ด้วยอุจจาระ FOB Rapid test Cassette
รายละเอียด ชุดตรวจหาเลือดในอุจจาระ (Fecal Occult Blood) AllTest FOB Rapid test Cassette 1 คุณลักษณะทั่วไป 1.1 วัตถุประสงค์ในการใช้งาน เป็นชุดทดสอบ Fecal Occult Blood สําเร็จรูปแบบรวดเร็ว ใช้ตรวจหาส่วนประกอบของเลือดในอุจจาระ 1.2 เป็นชนิดตลับทดสอบ ( Cassette ) บรรจุ 25 การทดสอบต่อกล่อง โดยแต่ละตลับทดสอบบรรจุอยู่ในหนึ่งซองอะลูมิเนียมฟลอยด์ปิดสนิท ป้องกันแสงและมีวัสดุกันความชื้นอยู่ภายใน 2 คุณลักษณะในทางเทคนิค 2.1 ชุดทดสอบ FOB เป็นชุดตรวจหา Fecal Occult Blood แบบรวดเร็วเชิงคุณภาพ 2.2 ชุดทดสอบมีลักษณะเป็นตลับทดสอบ ( Cassette ) โดยอาศัยหลักการ Immunochromatographic assay เพื่อใช้ตรวจหาฮีโมโกลบินของมนุษย์ในอุจจาระ 2.3 ชุดทดสอบสามารถตรวจหาปริมาณฮีโมโกลบินอย่างน้อย 100 นาโนกรัม/มิลลิลิตรหรือ 10 ไมโครกรัม/กรัมอุจจาระ 2.4 ชุดทดสอบสามารถอ่านผลได้ชัดเจนภายในเวลา 5 นาทีโดยสามารถมองเห็นผลชัดเจนด้วยตาเปล่า ไม่ต้องอาศัยเครื่องมือใด ๆ ช่วยในการแปลผล 2.5 ตลับทดสอบมีแถบควบคุมคุณภาพของการทดสอบ ( Control Line ) เพื่อช่วยในการตรวจสอบประสิทธิภาพของชุดทดสอบ และควบคุมคุณภาพการอ่านผล 2.6 สิ่งส่งตรวจที่ใช้ได้แก่อุจจาระ 2.7 ตลับทดสอบและซองบรรจุพิมพ์ชื่อชนิดการทดสอบไว้ในบริเวณที่เห็นได้อย่างชัดเจน 2.8 ซองบรรจุตลับทดสอบมีรายละเอียด ปริมาณฮีโมโกลบินที่ชุดทดสอบสามารถตรวจหาได้ พิมพ์ลงบนซองอย่างชัดเจน 2.9 ชุดทดสอบสามารถเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 2 -30 oC จนถึงวันหมดอายุ 2.10 หลอดบรรจุบัฟเฟอร์ ที่ใส่สิ่งส่งตรวจแล้ว สามารถเก็บที่อุณหภูมิห้องได้นาน 7 วัน 2.11 ชุดทดสอบ AllTest FOB มีความไว ( Sensitivity ) ในการตรวจหาเลือดมนุษย์ในอุจจาระ = 95.5 % มีความจําเพาะ ( Specificity ) ต่อการตรวจหาเลือดมนุษย์ในอุจจาระ = 99.7 % 2.12 ภายในกลํองบรรจุประกอบด้วยชุดทดสอบ และเอกสารประกอบน้ํายา ( Leaflet )บรรจุอยู่ภายในกล่อง นอกจากนี้ภายในกล่องยังประกอบด้วย 2.12.1 หลอดใส่สิ่งส่งตรวจที่บรรจุบัฟเฟอร์และพิมพ์ชื่อชนิดการทดสอบพร้อมวันหมดอายุบนหลอด จํานวน 25 หลอดโดยด้านบนของหลอดมีฝาปิดเพื่อป้องกันการหกของตัวอย่างตรวจ เงื่อนไขเฉพาะ 3.1 ชุดทดสอบมีอายุการใช้งานมากกว่า ๑๒ เดือน นับจากวันที่ได้ส่งมอบเรียบร้อยแล้ว 3.2 ผลิตภัณฑ์มีใบควบคุมคุณภาพการผลิตในแต่ละ Lot การผลิต( Certificate of Analysis ) 3.3 ผลิตภัณฑ์ได้รับรองมาตรฐาน CE mark 3.4 โรงงานผู้ผลิตได้รับรองคุณภาพการผลิตเครื่องมือแพทย์ ISO13485 3.5 บริษัทมี application specialist ดูแลคุณภาพสินค้าตลอดอายุการใช้งาน 3.6 ชุดทดสอบมีหนังสือรับรองจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข